"Prevention is better than Cure"
การฟื้นฟูวิชาการทีม SAT & JIT รพ.ทบ. 2025 โดย พ.อ.ดร.นพ.ภพกฤต ภพธรอังกูร ระหว่าง 13 ก.พ.- 27 มี.ค. 68

หลักระบาดวิทยาโรคติดเชื้อและการควบคุมป้องกันโรคสำหรับ SAT&JIT 2025 v.3 | |
File Size: | 19271 kb |
File Type: |

การสอบสวนโรคติดต่อระบบทางเดินหายใจ 2025 v.2 | |
File Size: | 20254 kb |
File Type: |

การเฝ้าระวัง สอบสวน ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยยุงลาย 2025 v.3 | |
File Size: | 18694 kb |
File Type: |

การเฝ้าระวัง สอบสวน ป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันและอาหารเป็นพิษ 2025 v.3 | |
File Size: | 15244 kb |
File Type: |

Emerging infectious diseases 2025.v3 | |
File Size: | 8394 kb |
File Type: |

Bioweapons 2025 | |
File Size: | 7374 kb |
File Type: |

การสื่อสารความเสี่ยงกรณีโรคติดต่อ 2025 | |
File Size: | 3238 kb |
File Type: |
***เอกสารประกอบการสอนหลักสูตร CDCU ระดับอำเภอ***
1. ทีมตระหนักรู้สถานการณ์และทีมปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค
2. หลักระบาดวิทยาโรคติดเชื้อและหลักการป้องกันโรค
3. การเฝ้าระวังทางสาธารณสุข
4. การสอบสวนทางระบาดวิทยา
5. การเก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
6. การเขียนรายงานรายงานสอบสวนโรค และการฝึกปฏิบัติการเขียนรายงานสอบสวนโรคเบื้องต้น
7. การนำเสนอข้อมูลทางระบาดวิทยา (อัพเดท ก.ย.67)
8. บทความฟื้นวิชา กรณีอาหารเป็นพิษ
9. มาตราฐาน SAT & JIT กองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
10. แนวทางการเขียนรายงานสอบสวนโรคฉบับสมบูรณ์สำหรับนักวิชาการสธ.
2. หลักระบาดวิทยาโรคติดเชื้อและหลักการป้องกันโรค
3. การเฝ้าระวังทางสาธารณสุข
4. การสอบสวนทางระบาดวิทยา
5. การเก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
6. การเขียนรายงานรายงานสอบสวนโรค และการฝึกปฏิบัติการเขียนรายงานสอบสวนโรคเบื้องต้น
7. การนำเสนอข้อมูลทางระบาดวิทยา (อัพเดท ก.ย.67)
8. บทความฟื้นวิชา กรณีอาหารเป็นพิษ
9. มาตราฐาน SAT & JIT กองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
10. แนวทางการเขียนรายงานสอบสวนโรคฉบับสมบูรณ์สำหรับนักวิชาการสธ.
FE skill topics
1. Public health surveillance
|
2. Outbreak investigation
|
3. Epidemiological study
|
8. Bioweapons
|
4. Surveillance evaluation
|
คู่มือ แนวทาง แบบฟอร์ม

วัคซีนที่จำเป็นสำหรับการเดินทาง | |
File Size: | 3381 kb |
File Type: |
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
แบบรายงาน (word / pdf. files)

ต้นแบบร่างรายงานสอบสวนไข้หวัดใหญ่ในหน่วยทหาร | |
File Size: | 56 kb |
File Type: | docx |

แบบรายงานโรคปอดอักเสบจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 | |
File Size: | 113 kb |
File Type: |
แบบสอบถามที่ใช้ในการสอบสวนการระบาดของโรค กองระบาดวิทยา คร.สธ. ปี 63
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
เอกสารสำคัญ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมโรค
![]()
|
เกณฑ์ในการสอบสวนโรคติดต่ออันตราย
![]()
|

เงื่อนไขการออกสอบสวนโรคของทีม JIT สธ. (21/10/67) | |
File Size: | 575 kb |
File Type: |
หลักการควบคุมโรคติดต่อ

หลักระบาดวิทยาโรคติดเชื้อและการควบคุมป้องกันโรคสำหรับ SAT&JIT2025 | |
File Size: | 14988 kb |
File Type: |
เมื่อพิจารณาองค์ประกอบสามเส้าทางระบาดวิทยา และ ห่วงโซ่การติดเชื้อ จะพบว่า อยู่ในกรอบแนวคิดเดียวกัน กล่าวคือ
Host = Susceptible host, Portal of exit, Portal of entry;
Agents = Organisms;
Environment = Reservoir และ Transmission นั่งเอง
ดังนั้น การป้องกันควบคุมโรคติดต่อ จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องตัดช่องทางการแพร่โรค (mode of transmissions) เป็นอันดับแรก และ ป้องกันการสัมผัสโรคของโฮสท์ เป็นอันดับสอง และท้ายที่สุดก็กำจัดเชื้อก่อโรค (ถ้าสามารถทำลายให้สิ้นไปได้ หรือลดจำนวนเชื้อก่อโรคให้มากที่สุด)
Host = Susceptible host, Portal of exit, Portal of entry;
Agents = Organisms;
Environment = Reservoir และ Transmission นั่งเอง
ดังนั้น การป้องกันควบคุมโรคติดต่อ จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องตัดช่องทางการแพร่โรค (mode of transmissions) เป็นอันดับแรก และ ป้องกันการสัมผัสโรคของโฮสท์ เป็นอันดับสอง และท้ายที่สุดก็กำจัดเชื้อก่อโรค (ถ้าสามารถทำลายให้สิ้นไปได้ หรือลดจำนวนเชื้อก่อโรคให้มากที่สุด)
โรคติดเชื้ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ

Emerging infectious diseases 2025 v3. | |
File Size: | 8394 kb |
File Type: |

BWA 2025 | |
File Size: | 7374 kb |
File Type: |

การสื่อสารความเสี่ยงกรณีโรคติดต่อ 2025 | |
File Size: | 3238 kb |
File Type: |
โรคฝีดาษวานร (Monkey pox)

การเฝ้าระวัง monkeypox ของ สธ.ไทย 26102022 | |
File Size: | 870 kb |
File Type: |
อาหารเป็นพิษ/โรคอุจจาระร่วง
รายงานผู้ป่วยพบได้ตลอดทั้งปี แต่จะพบจำนวนการระบาดได้มากในช่วง
1) ฤดูร้อน
2) เทศกาลที่มีคนร่วมกิจกรรมกันจำนวนมาก
1) ฤดูร้อน
2) เทศกาลที่มีคนร่วมกิจกรรมกันจำนวนมาก
สถานการณ์โรคอุจจาระร่วงและอาหารเป็นพิษในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2565–22 กุมภาพันธ์ 2566 จากฐานข้อมูลระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ กรมควบคุมโรค พบว่า ในห้วงฤดูหนาวของไทย ต.ค. 65-ก.พ. 66 โรคอุจจาระร่วงและอาหารเป็นพิษพบมากสุดในเดือน ม.ค. 66 และมีรายงานพบในค่ายทหารในห้วงเดือน ม.ค.66
เชื้อก่อโรคในโรคอุจจาระร่วง ก.พ. 66- ก.พ. 67 ที่พบส่วนใหญ่เป็นทั้งเชื้อไวรัส ได้แก่ ไวรัสโนโร และแบคทีเรียชนิด E.coli ซึ่งมาจากการปนเปื้อนของอาหารหรือน้ำ ดังนั้น ประชาชนจึงควรรับประทานที่ปรุงสุกใหม่ หากเป็นอาหารค้างมือควรอุ่นอาหารให้ร้อน และดื่มน้ำสะอาดจากแหล่งที่เชื่อถือได้
อหิวาตกโรค
อหิวาตกโรคเกิดจากการติดเชื้อ Vibrio cholerae serogroup O1 เชื้อนี้จะสร้างสารพิษเรียกว่า Cholera toxin ทำให้เกิดอาการเหมือนกับโรคอุจจาระร่วงอย่างแรง
|

วัคซีนป้องกันโรคอหิวาตกโรค | |
File Size: | 1073 kb |
File Type: |

การใช้ oral cholera vaccine สำหรับ outbreak | |
File Size: | 314 kb |
File Type: |
วัณโรค (Tuberculosis)
![]()
|
![]()
|
![]()
|
![]()
|
ตัวอย่างรายงานสอบสวนวัณโรค
![]()
|
![]()
|
![]()
|